ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา

ธรรมชาติ

ความรู้ทั่วไปธรรมชาติบทความสุขภาพ

การปลูกต้นไม้ในบ้านดีอย่างไร ? 3 ข้อดีๆต่อใจ เมื่อปลูกต้นไม้ในบ้าน

1. ช่วยให้ร่างกายผ่อนคลาย
2. ช่วยกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์
3. คลายความล้าของดวงตา

Read More
ความรู้ทั่วไปธรรมชาติบทความสมุนไพรสุขภาพเทคโนโลยี

GMO คืออะไร ทำไมต้อง GMO

เมล็ดพันธุ์คือจุดเริ่มต้นของทุกสิ่ง เป็นส่วนสำคัญของการเริ่มต้นเพาะปลูก จากเมล็ดพัันธุ์ไปสู่ต้นกล้าที่ผลิดอกออกผลให้ผู้คนได้อาศัยพึ่งพิง ยิ่งการทำเกษตอินทรีย์ด้วยแล้ว ระเบียบปฏิบัติอย่างหนึ่งของผู้ที่จะทำนั้นก็คือ การห้ามใช้เมล็ดพันธุ์ที่ตัดแต่งพันธุกรรม แล้ว GMO คืออะไร

Read More
ความรู้ทั่วไปธรรมชาติบทความภาวะโลกร้อน

วิกฤตฝุ่นละออง PM 2.5

ในปัจจุบันได้เกิดปัญหาใหญ่ขึ้นในกรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ พระนครศรีอยุธยา และอีกหลายจังหวัดนั้นก็คือปัญหาของฝุ่น PM 2.5 ที่นับวันเริ่มมีมากขึ้น กรมควบคุมมลพิษแจ้งเตือนค่าฝุ่นละออง PM 2.5 เกินมาตรฐานเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในหลายพื้นที่ทั่วกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียง ส่งผลให้เกิดความตื่นตัวของประชาชนจำนวนมากเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้ โดยฝุ่นละออง PM 2.5 ตามข่าวนั้น เป็นฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กและไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เพราะมีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (ไมโครเมตร) หรือเล็กกว่าเส้นผมคนเราถึง 20 เท่าเลยทีเดียว

Read More
ธรรมชาติบทความภาวะโลกร้อน

ภาวะโลกร้อน กับ การเกิดรูโหว่ของชั้นโอโซน

การเกิดรูโหว่ในชั้นโอโซน ยังเป็นประเด็นที่หลายคนยังเข้าใจผิดว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้น การที่ชั้นโอโซนถูกทำลายจนเกิดรูโหว่ที่เราได้ยินกันนั้น มิได้เป็นสาเหตุที่ทำให้โลกร้อนขึ้น แต่จะทำให้รังสีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตผ่านเข้ามายังพื้นโลกมากขึ้น

Read More
ธรรมชาติบทความเศรษฐกิจพอเพียง

จุลินทรีย์ที่ใช้ในการทำเกษตร

การทำเกษตรอินทรีย์ แน่นอนอยู่แล้วว่าสิ่งที่จะนำมาใช้เป็นส่วนประกอบในการเพาะปลูกทั้งหมดจะต้องมาจากธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยคอกที่จะนำมาใช้ในการเร่งการเจริญเติบโต แม้กระทั้งสิ่งที่จะนำมาย่อยสลายวัตถุอินทรีย์ในดินก็มีส่วนสำคัญไม้แพ้กัน เรียกได้ว่าเป็นหัวใจหลักของการย่อยวัตถุอินทรีย์กันเลยทีเดียว นั่นก็คือ จุลินทรีย์ที่ใช้ในการทำเกษตรเป็นสิ่งที่จะกล่าวถึง จุลินทรีย์มีบทบาทสำคัญในการทำเกษตรอินทรีย์

Read More
ธรรมชาติบทความ

RoHS มาตรฐานเพื่อสิ่งแวดล้อม

RoHS คือ มาตรฐานการจำกัด การใช้สารอันตรายที่ 2002/95/EC เป็นของสหภาพยุโรป (EU) เกี่ยวกับการใช้สารอันตรายในผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวมถึงการใช้งานทุกชนิด พลังงานที่จำเป็น ในการใช้งานเตาอบไมโครเวฟ, โทรทัศน์วิทยุ ฯลฯ ซึ่งหมายความว่าเนื่องจากสถานการณ์บางอย่างเช่นการใช้ไฟฟ้า ตั้งแต่แผงวงจร การเดินสายไฟฟ้าเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านี้ จำนวนเงินที่ จำกัด ของผู้โดยสารใน 6 ชนิด ดังนี้

Read More
ความรู้ทั่วไปธรรมชาติบทความ

เชื้อเพลิงจิ๋ว

มนุษย์นำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้เป็นแหล่งพลังงานเพื่อตอบสนองกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ มาช้านาน โดยเฉพาะพลังงานในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมากสำหรับการดำรงชีวิต ไฟฟ้าที่ใช้ในทุกวันนี้อาจผลิตมาจากพลังงานที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงธรรมชาติในรูปแบบต่างๆ เช่น ไม้ ปิโตรเลี่ยม ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ ซึ่งในแต่ละวันเชื้อเพลิงธรรมชาติเหล่านี้ กำลังถูกใช้ไปอย่างมากจนเกือบจะหมดไปต้องใช้ระยะเวลานานในการสะสมเชื้อเพลิงในธรรมชาติ

Read More
ธรรมชาติบทความ

ปรากฏการณ์หมวกเมฆสีรุ้ง

เมฆที่เรามองเห็นทั่วๆไปนั่นคือกลุ่มของละอองน้ำขนาดเล็กที่เกิดจากการควบแน่นของความชื้นในอากาศ เมฆที่อยู่สูงนั้นจะมีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง ทำให้ละลองน้ำกลายเป็นกลุ่มของน้ำแข็งขนาดเล็ก ผลึกของน้ำแข็งจะสะท้อนแสงทำให้เรามองเห็นเป็นก้อนขาวๆ ถ้ามีความหนาแน่นของละอองน้ำในก้อนเมฆมากๆ อาจจะเห็นเป็นเมฆสีเทา บางครั้งก้อนเมฆก็มีแสงสีรุ้งเกิดขึ้น บางครั้งมีลักษณะเป็นหมวกอยู่ด้านบนก้อนเมฆ

Read More
ธรรมชาติบทความเศรษฐกิจพอเพียง

ศาสตร์พระราชา กับ วันดินโลก

เริ่มต้นจากที่มีการประชุมวิทยาศาสตร์ทางดินของโลก ครั้งที่ 17 ณ กรุงเทพมหานคร ในปี 2545 มีนักวิทยาศาสตร์ทางดินจากทั่วโลกมาร่วมประชุม ภายในงานมีการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและพระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรดิน รวมถึงการจัดตั้งโครงการพระราชดำริในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ

Read More
ธรรมชาติบทความ

เรื่อง รู้จักฝน

ฝนเป็นวัฏจักรของน้ำ เกิดจากน้ำระเหยกลายเป็นไอควบแน่นเป็นละอองน้ำในอากาศและรวมตัวกันเป็นเมฆ เมื่อน้ำโดนความร้อนของแสงจากดวงอาทิตย์ หรือความร้อนอื่น ๆ จนทำให้ระเหย กลายเป็นไอน้ำ ลอยขึ้นไปในอากาศ เมื่อไอน้ำมากขึ้นจะรวมตัวเป็นละอองน้ำเล็ก ๆ รวมตัวกัน เมื่อปริมาณของละอองน้ำมากเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ก็จะเห็นเป็นเมฆฝน พอมากเข้า อากาศไม่สามารถพยุงละอองน้ำเหล่านี้ต่อไปได้ น้ำก็จะหล่นลงมายังผืนโลกของเรา ไหลลงสู่แม่น้ำลำคลองลงไปในทะเลและมหาสมุทร และฝนบางส่วนที่ตกลงมาจากผิวของเมฆได้ระเหยกลายเป็นไอก่อนตกลงถึงผิวโลกส่วนนี้เรียกว่า virga

Read More