วันพฤหัสบดี, เมษายน 18, 2024
Latest:
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาพระนครศรีอยุธยา

Month: กุมภาพันธ์ 2019

บทความอาหาร

ดอกไม้หมดอายุ

“ ดอกไม้ ” หลายคนคงนึกถึงภาพสีสันที่สวยงาม ทุ่งกว้างที่เต็มไปด้วยกลิ่นหอม แต่มีพืชอยู่ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายดอกไม้ แต่ให้โทษมหันต์อาจถึงแก่ชีวิตกันทีเดียว เห็ดรา พืชชั้นต่ำที่ผุดขึ้นมาคลายดอกไม้ มีสีสันสันบ้าง มีลวดลายบ้าง มีทั้งส่งกลิ่นเหม็นในบางชนิด บางชนิดก็เป็นอาหารอันโอชะของเหล่านักชิม บางชนิดก็เป็นพิษคร่าชีวิตผู้คนมากมายหากไม่ระวัง

Read More
บทความสุขภาพ

ภูมิแพ้ : เหตุใดคนเกือบครึ่งโลกจึงเป็นโรคนี้

ปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ทราบอย่างแน่ชัดว่าเหตุใดอัตราการเป็นโรคภูมิแพ้จึงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำหรับในไทยนั้น ข้อมูลจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ระบุว่า โรคภูมิแพ้ เป็นโรคที่พบบ่อยในคนไทย จากการสำรวจพบว่าอุบัติการณ์ของโรคนี้ได้เพิ่มขึ้นสูงกว่าแต่ก่อนมาก และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

Read More
บทความเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงแนวทางการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน

เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมานานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ พระองค์ก็ได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม

Read More
บทความสุขภาพ

โรควัณโรค (Tuberculosis) ปัญหาระดับโลก

วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อทางอากาศ เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชื่อว่า ไมโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลซิส (Mycobacterium Tuberculosis) โดยทั่วไปแล้วผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคมักไม่แสดงอาการใด ๆ แต่ตัวโรคจะดำเนินต่อไป โดยแบ่งเป็นสามระยะ

Read More
บทความภาวะโลกร้อน

ผลกระทบของภาวะโลกร้อน

  ไม่มีใครรู้ว่าโลกร้อนมากเพียงใดที่จะ “ปลอดภัย” แต่ที่เรารู้ก็คือ ภาวะโลกร้อนกำลังก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้คนและระบบนิเวศ ความจริงที่เราเห็นได้ก็คือ ธารน้ำแข็งที่กำลังละลาย น้ำแข็งขั้วโลกสลาย ชั้นดินเยือกแข็ง (Permafrost) ที่อุ่นขึ้น ปะการังที่กำลังตาย ระดับน้ำทะเลที่กำลังเพิ่มสูงขึ้น ระบบนิเวศ ที่กำลังเปลี่ยนแปลง และคลื่นความร้อนที่ทำให้ถึงแก่ความตายได้ ไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้นที่กำลังเป็นประจักษ์พยานของความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ตั้งแต่ชนเผ่าอินูท์ในทวีปอาร์กติกทางตอนเหนือสุด

Read More
บทความสุขภาพ

หลีกเลี่ยงการสร้างฝุ่น PM 2.5 ด้วยตัวเรา

PM2.5 คือฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน อาจเทียบอย่างง่ายว่ามีขนาดประมาณ 1 ใน 25 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ เล็กขนาดที่ขนจมูกของมนุษย์นั้นไม่สามารถกรองได้ ทำให้ฝุ่นละอองชนิดนี้สามารถแพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจ กระแสเลือด และแทรกซึมสู่กระบวนการทำงานในอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย เพิ่มความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง

Read More